โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่มีคนเป็นกันเยอะมากในปัจจุบัน แต่หลายคนอาจยังไม่รู้ถึงความจริงของโรคซึมเศร้า วันนี้เราขอพาทุกคนไปรู้จักกับโรคซึมเศร้าแต่ละแบบกันค่ะ ซึ่งจะมีแบบไหนแล้วอาการ วิธีรักษาเป็นยังไง ตามไปดูกันเลย
โรคซึมเศร้าคืออะไร
โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติของสมองที่มีผลกระทบต่อความนึกคิด อารมณ์ ความรู้สึก พฤติกรรมและสุขภาพกาย แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าโรคซึมเศร้าเป็นผลมาจากความผิดปกติของจิตใจ สามารถแก้ไขให้หายได้ด้วยตนเอง แต่ในความจริงแล้ว โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่เกิดจากความไม่สมดุลของสารสื่อประสาท 3 ชนิด คือ ซีโรโตนิน นอร์เอปิเนฟริน และโดปามีน ส่งผลให้ร่างกาย พฤติกรรม ความคิด และอารมณ์ เกิดความแปรปรวน นำไปสู่อาการต่าง ๆ
สาเหตุของโรคซึมเศร้าเกิดจากอะไร
สถานการณ์เลวร้ายในชีวิต เช่น โดนทำร้าย ถูกข่มขืน ตกงาน ผิดหวังจากความรักหรือการเรียน สิ่งเหล่าจะทำให้เกิดความผิดหวังและความเศร้า หากไม่ได้รับการเยียวยาหรือรักษาจะนำไปสู่โรคซึมเศร้า
ผลข้างเคียงของการเป็นโรคร้ายหรือการใช้ยาบางชนิด เช่น ภาวะไทรอยด์ทำให้ฮอร์โมนทำงานผิดปกติ โรคลมชัก โรคสมองเสื่อม
พันธุกรรม จากการสำรวจพบว่า หากมีฝาแฝดคนหนึ่งเป็นโรคซึมเศร้า ฝาแฝดอีกคนมีโอกาสเป็นสูงถึง 60 – 80% หากคนในครอบครัวที่เป็นญาติสายตรง (พ่อ แม่ พี่ น้อง) ที่เป็นโรคซึมเศร้า จะมีโอกาสเป็นมากกว่าคนทั่วไปถึง 20%
ผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยนี้จะมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าได้ง่าย เนื่องจากอารมณ์และความรู้สึกแปรปรวนหรือความเศร้าจากการใช้ชีวิต
อย่างไรก็ตาม จริงๆ แล้วโรคซึมเศร้ามีหลายชนิดหลากหลายประเภท ทำให้ผู้ป่วยซึมเศร้าแต่ละคนมีความแตกต่างกันออกไปอารมณ์ที่หลายหลายของโรคซึมเศร้า
ประเภทของโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าแบบเมเจอร์ ดีเพรสชั่น (Major Depression) คนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าชนิดนี้ จะมีความผิดปกติที่มีอารมณ์ซึมเศร้านานกว่า 2 สัปดาห์ ผู้ที่ป่วยจะมีอาการเศร้าสลดอย่างมาก จนไม่มีความสนใจในกิจกรรมต่างๆ ที่จะช่วยทำให้กลับมามีความสุขสดชื่นเหมือนเดิม ดังนั้นควรเริ่มรักษาแต่เนิ่นๆ จะช่วยไม่ให้โรคซึมเศร้าแบบนี้มีความรุนแรงขึ้น อีกทั้งยังลดความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายอีกด้วย
โรคซึมเศร้าแบบดิสทีเมีย (Dysthymia Depression) คนที่เป็นโรคซึมเศร้าชนิดนี้ จะมีอาการรุนแรงน้อยกว่าชนิดแรก แต่เป็นอย่างต่อเนื่องนานกว่า นั่นคือ จะมีอาการอย่างน้อย 2 ปี แต่มักจะนานกว่า 5 ปี อาการไม่รุนแรงถึงขนาดทำอะไรไม่ได้ เนื่องจากผู้ที่ป่วยจะมีอารมณ์ผิดปกติสลับไปด้วย อาการของซึมเศร้าประเภทนี้ ได้แก่ รู้สึกไม่อยากอาหารหรือกินมากไป นอนไม่หลับหรือนอนมากไป,เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย หมดแรง,ขาดความมั่นใจในตัวเอง,ไม่ค่อยมีสมาธิ,การตัดสินใจแย่ลง,รู้สึกหมดหวัง
โรคซึมเศร้าแบบไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) คนเป็นโรคซึมเศร้าชนิดนี้ บางรายจะมีอารมณ์เซ็ง ซึมเศร้าสลับกับอาการลิงโลด โดยเป็นอารมณ์ที่ต่างกัน หรือ ต่างขั้วกัน โดยซึมเศร้าชนิดนี้จะมีผลต่อการตัดสินใจและมักก่อให้เกิดปัญหา
โรคซึมเศร้าก่อนมีประจำเดือน (Premenstrual Dysphoric Disorder) อาการซึมเศร้าชนิดนี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนเพศหญิงในช่วงครึ่งหลังของรอบเดือน โดยเฉพาะในรอบเดือนที่มีการตกไข่ (ในสตรี วัยเจริญพันธุ์จะมีประจำเดือนทุก 28-30 วัน การตกไข่จะเกิดขึ้น 2 สัปดาห์ก่อนมีประจำเดือนครั้งถัดไป และบ่อยครั้งก็มีประจำเดือนได้โดยไม่มีการตกไข่) ซึ่งจะมีการแสดงอาการหลายอย่าง เช่น ซึมเศร้าอย่างมาก อยากฆ่าตัวตาย ร้องไห้บ่อยๆ โมโหร้าย นอนไม่หลับ ไม่มีเรี่ยวแรง ไม่มีสมาธิหรือสมาธิสั้น บวมตามตัว บวม คัดหน้าอกอย่างมากหรือปวดศีรษะอย่างมากเป็นต้น ซึ่งอาการซึมเศร้าก่อนมีประจำเดือนนั้นจะพบเพียง 2-10% จากจำนวนหญิงที่มีประจำเดือนทั้งหมด
โรคซึมเศร้าตามฤดูกาล (Seasonal Affective Disorder) เป็นโรคทางอารมณ์ชนิดหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันของแต่ละปีโดยส่วนใหญ่มักเกิดอาการขึ้นในฤดูหนาว ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กลางคืนยาวนานกว่ากลางวัน อาจมีอาการต่างๆ ได้แก่ซึมเศร้า เหนื่อยล้าและแยกตัวจากสังคม แม้ว่าอาการต่างๆ มักจะหายไปภายในไม่กี่เดือน แต่ก็อาจส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความรู้สึกและการทำหน้าที่ต่างๆ ของบุคคล
โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression) โรคซึมเศร้าชนิดนี้ เป็นปัญหาสุขภาพจิตที่คุณแม่บางคนอาจต้องเผชิญหลังคลอดบุตร โดยอาจมีอาการซึมเศร้า เสียใจ วิตกกังวล และอ่อนเพลียมากจนไม่สามารถเลี้ยงลูกหรือทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ หากมีอาการเหล่านี้ คุณแม่ควรไปปรึกษาแพทย์เพื่อรับการตรวจรักษาอย่างเหมาะสม และหากมีอาการรุนแรงอย่างหลอน มีความคิดทำร้ายตัวเองหรือลูกน้อย หรือแม้แต่คิดฆ่าตัวตาย คนรอบข้างควรรีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที
โรคซึมเศร้าเพราะปรับตัวไม่ทัน (Situational Depression) เกิดตามหลังเหตุการณ์ที่ทำร้ายจิตใจ เช่น หย่าร้าง ตกงาน การเสียชีวิตของคนใกล้ชิด ประสบอุบัติเหตุรุนแรง หรือกระทั่งเกษียณอายุ หลังเหตุการณ์ไม่เกิน 90 วันอาจเกิดอาการ เช่น ห่อเหี่ยววุ่นวายใจ รู้สึกเศร้าและสิ้นหวัง นอนไม่หลับ ร้องไห้บ่อยๆ วิตกกังวล เสียสมาธิ แยกตัวจากคนรอบข้างหรือไม่ทำกิจกรรมที่เคยทำตามปกติ บางคนอาจมีความคิดฆ่าตัวตายได้
ทั้งหมดนี้คือรายละเอียดของโรคซึมเศร้าที่ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ในยุคนี้ และผู้ที่ใกล้ชิดคนเป็นโรคซึมเศร้าควรที่จะเข้าใจคนที่เป็นให้มากที่สุด แต่สำหรับคนที่เป็นโรคซึมเศร้าแล้ว การได้ปลดปล่อยเรื่องร้ายและมาหาความสุขกับเกมออนไลน์ panama888 เกมสล็อตออนไลน์ที่โด่งดังระดับโลก เว็บตรงไม่ผ่านเอเย่นต์ที่น่าสนใจที่สุด ปลอดภัย ได้มาตรฐานและแจ็กพอตแตกง่ายที่สุด
panama888 แหล่งรวมเกมสล็อตออนไลน์ที่ดีที่สุดและมากที่สุด มีทั้งบาคาร่า รูเล็ต ป๊อกเด้ง ไพ่แคง น้ำเต้าปูปลา และเกมอีกมากมายให้เพื่อ น ๆ เลื่อกเล่น และเพียงแค่สมัครสมาชิกวันนี้ก็สามารถรับเครดิตฟรีเพื่อไปใช้ในเกมได้เลย โปรดีโปรเด็ดแบบนี้ห้ามพลาดนะคะ